ทำไมดื่มชาเขียว-ชาดำ ถึงลดเสี่ยงโรคหัวใจ-ไขมันในเลือด

ทำไมดื่มชาเขียว-ชาดำ ถึงลดเสี่ยงโรคหัวใจ-ไขมันในเลือด


เครื่องดื่มตระกูลชา โ ด ย เ ฉ พ า ะ ช า เ ขี ย ว  แ ล ะ ช า ดำ ต่ า ง ๆ  มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ร่ า ง ก า ย โดยเฉพาะคนเอเชียอย่างชาวจีน ชาวญี่ปุ่นที่นิยมดื่มชาร้อนๆ มานานนับหลายศตวรรษแล้ว แต่ชาเหล่านี้ มีดีอย่างไร มีประโยชน์อย่างไร มาไขความลับสุขภาพดีจากชากันดีกว่า

“ฟลาโวนอยด์” เคล็ดลับสุขภาพดีของชา

สารฟลาโวนอยด์ เป็นสารที่พบได้ในผักผลไม้หลายชนิด ไม่ได้พบแค่ในชาเขียว และชาดำเท่านั้น แ ต่ ห า ก ยั ง พ บ ไ ด้ ใ น  ยอ  ส า ร ส กั ด จ า ก เ ม ล็ ด อ งุ่ น  ก ร ะ ช า ย ดำ  ถั่ ว เ ห ลื อ ง  แ ล ะ เ ค รื่ อ งดื่ ม อ ย่ า ง ไ ว น์  เป็นต้น ฟลาโวนอยด์ มีคุณสมบัติเป็น สารต้านอนุมูลอิสระ จึงมีประโยชน์ต่อร่างกายมากมาย

ฟลาโวนอยด์ที่พบในพืช แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
  • นารินจิน (Naringin) เป็นสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ ที่ให้รสขม ในเปลือกของผลไม้ พืชตระกูลส้ม (citrus fruit)
  • แคทีชิน (Catechin) พบในใบชา พ บ ม า ก ใ น ช า เ ขี ย ว



ประโยชน์ของฟลาโวนอยด์

  1. ลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจ และหลอดเลือด (รวมถึงโรคหัวใจ และหลอดเลือดสมอง)
  2. ลดระดับคอเลสเตอรอล คราบพลัค และไขมันเลวในเลือด และในหลอดเลือด ที่เป็นสาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
  3. ช่ ว ย ป รั บ ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต ใ ห้ อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ป ก ติ
  4. การดื่มชาเขียว หรือชาดำ ให้ความสดชื่น กระปรี้กระเปร่า สมองตื่นตัว เพราะมีคาเฟอีนครึ่งหนึ่ง เมื่อเทียบกับกาแฟในปริมาณเดียวกัน เ ป็ น อี ก ห นึ่ ง ตั ว เ ลื อ ก   สำ ห รั บ ค น ที่ ต้ อ ง ก า ร ค า เ ฟ อี น  ใ น ป ริ ม า ณ ไ ม่ ม า ก   เ ท่ า ก า ร ดื่ ม ก า แ ฟ
  5. ความไวต่อปฏิกิริยาของหลอดเลือดดีขึ้น หมายถึง การที่หลอดเลือดมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารเคมี และความตึงเครียดทางอารมณ์นั่นเอง ซึ่งเมื่อหลอดเลือดมีปฏิกิริยาที่ดี ก็จะ ช่ ว ย ใ ห้ ห ล อ ด เ ลื อ ด มี ก า ร ไ ห ล เ วี ย น ข อ ง โ ล หิ ต แ ล ะ ป ฏิ กิ ริ ย า อื่ น ๆ เ พื่ อ ใ ห้ ร่ า ง ก า ย ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ปั ญ ห า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ เ ร็ ว ขึ้ น

อย่ารับประทานฟลาโวนอยด์มากเกินไป

ถ้าคิดว่าฟลาโวนอยด์มีประโยชน์ จะโหมดื่มชาเป็นลิตรๆ ต่อวันแล้วล่ะก็ ขอให้หยุดคิดไปได้เลย เพราะ ก า ร ดื่ ม ช า ม า ก เ กิ น ไ ป ส่ ง ผ ล เ สี ย ต่ อ ก า ร ทำ ง า น ข อ ง ไ ต เพราะทั้งชาเขียว ชาดำ หรือชาอื่นๆ จะมีสารออกซาเลตอยู่ปริมาณหนึ่ง ห า ก ไ ด้ รั บ เ ข้ า สู่ ร่ า ง ก า ย ม า ก ๆ จ น ทำ ใ ห้ ไ ต ต้ อ ง กำ จั ด อ อ ก ไ ป บ่ อ ย ๆ อ า จ ต ก ค้ า ง เ ป็ น ผ ลึ ก จ น ก ล า ย เ ป็ น นิ่ ว ใ น ไ ต ไ ด้
ดังนั้น ห า ก อ ย า ก จ ะ ดื่ ม ช า เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ สุ ข ภ า พ ที่ ดี ค ว ร ดื่ ม ไ ป ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ วั น ล ะ 1-2  แ ก้ ว  เลือกดื่มชาร้อนไม่ใส่น้ำตาล และส่วนประกอบอื่นๆ หรือใส่น้ำตาลให้น้อยที่สุด ไ ม่ ค ว ร ดื่ ม เ พ ร า ะ คิ ด ว่ า ช า เ ป็ น ย า รั ก ษ า โ ร ค และชาชงจากใบชาแท้ๆ จะดีกว่าชาขวด หรือชากระป๋อง เพราะอาจมีส่วนประกอบที่เป็นชาน้อย และน้ำตาลสูง เครื่องดื่มชาน้ำตาลสูง จะทำให้ร่างกายได้รับประโยชน์จากการดื่มชาน้อยลง

ขอขอบคุณ
ข้อมูล : Harvard Health Publishing, Food Network Solution


ลิงค์น่าสนใจ
ปวดข้อเท้า(1)
ปวดข้อเท้า(2)
ปวดข้อเท้า(3)
ปวดข้อเท้า(4)
ปวดข้อเท้า(5)
ปวดข้อเท้า(6)

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้