บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤษภาคม, 2019

อันตราย!! บุฟเฟ่ต์ทุเรียน 4 กิโล 3 ช.ม.

รูปภาพ
อันตราย!! บุฟเฟ่ต์ทุเรียน 4 กิโล 3 ช.ม. กรมอนามัย เตือนประชาชน รับคำท้า กินทุเรียน 4 กก.ภายใน 3 ช.ม. เ สี่ ย ง อุ ณ ห ภู มิ ร่ า ง ก า ย พุ่ ง เ ฉี ย บ พ ลั น  ช็ อ ก  ห ม ด ส ติ  จวกเป็นการตลาดที่ไม่ควรทำ แพทย์หญิงพรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึง กรณีร้านขายทุเรียนแห่งหนึ่ง ประกาศชวนลูกค้า ท้ า กิ น ทุ เ รี ย น  4  กิ โ ล ก รั ม  ใ ห้ ห ม ด ภ า ย ใ น   3  ชั่ ว โ ม ง จ ะ มี เ งิ น ร า ง วั ล ใ ห้ ถึ ง  5,000 บาท  ห า ก กิ น ไ ม่ ห ม ด จ ะ ต้ อ ง จ่ า ย ค่ า ทุ เ รี ย น ร ว ม ถึ ง ค่ า ป อ ก ทุ เ รี ย น ว่า ทุเรียนเป็นกลุ่มผลไม้พลังงานสูง และค่อนข้างสัมพันธ์ กับความร้อนในร่างกาย ยิ่งอุณหภูมิภายนอก  หรือ สภาพอากาศร้อนจัด ยิ่งมีผลกระทบ ต่ออุณหภูมิร่างกาย เพราะฉะนั้น เราจึง แ น ะ นำ ใ ห้ กิ น ทุ เ รี ย น เ พี ย ง วั น ล ะ  2  พู ส่วนเรื่องการประกาศชวนลูกค้า ให้รับประทาน 4 กิโลกรัม ให้หมดภายใน 3 ชั่วโมง อาจจะส่งผลให้ เ กิ ด อ า ก า ร จุ ก เ สี ย ด  แ น่ น ท้ อ ง  ซึ่ ง เ ป็ น อ า ก า ร ที่ เ กิ ด ป ก ติ  จ า ก รั บ ป ร ะ ท า น ป ริ ม า ณ ม า ก ๆ ใ

รู้แล้วเลิกเขี่ยทิ้งได้เลย

รูปภาพ
รู้แล้วเลิกเขี่ยทิ้งได้เลย ใช่คุณหรือเปล่า ที่ชอบเขี่ยอาหารที่ไม่ชอบไว้ขอบจาน รู้ตัวหรือไม่ว่า กำ ลั ง เ ขี่ ย ส่ ว น ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ สุ ด ข อ ง มื้ อ นั้ น อ อ ก ไ ป  ด้ ว ย คุณอาจคิดว่ามันไม่อร่อย แต่หากรู้คุณประโยชน์ของมันแล้ว คุณอาจเปลี่ยนใจ หันมาทานอย่างจริงจังในคราวหน้าก็ได้นะ 10 อาหารที่คนมักเขี่ยออกจากจาน แต่มีประโยชน์สุดๆ 1. ใบกะเพรา เคยสงสัยไหม ทำไมบางคนชอบทานผัดกะเพรามาก แต่เขี่ยใบกะเพราออก พอถามก็บอกว่า ชอบแค่กลิ่นของมันเฉยๆ แ ท้ จ ริ ง แ ล้ ว ก ะ เ พ ร า ช่ ว ย ป้ อ ง กั น อ า ก า ร ห วั ด  แ ก้ จุ ก เ สี ย ด ท้อ ง  ขั บ ล ม  ย่ อ ย ไ ข มั น  แ ล ะ  ล ด ร ะ ดั บ น้ำ ต า ล ใ น เ ลื อ ด ไ ด้ ด้ ว ย  ยิ่งผัดมาแบบที่ใบยังไม่สุกมาก ยิ่งได้ประโยชน์เยอะเลยหล่ะ 2. พริกหยวก พริกหยวกช่วย ล ด ร ะ ดั บ ค อ เ ล ส เ ต อ รอ ล  และ ไ ต ร ก ลี เ ซ อ ไ ร ด์  ในร่างกาย  ขับลม บำรุงเลือดลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้อาการปวดเมื่อย และช่วยขับปัสสาวะ ได้ด้วย 3. ขิง เขี่ยขิงออกรัวๆ แบบนี้ คุณกำลังเอายาสมุนไพรดีๆ ออกจากจานเลยนะ เ พ ร า ะ ขิ ง มี ส า ร ต้ า น อ

ทำไมดื่มชาเขียว-ชาดำ ถึงลดเสี่ยงโรคหัวใจ-ไขมันในเลือด

รูปภาพ
ทำไมดื่มชาเขียว-ชาดำ ถึงลดเสี่ยงโรคหัวใจ-ไขมันในเลือด เครื่องดื่มตระกูลชา โ ด ย เ ฉ พ า ะ ช า เ ขี ย ว  แ ล ะ ช า ดำ ต่ า ง ๆ  มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ร่ า ง ก า ย โดยเฉพาะคนเอเชียอย่างชาวจีน ชาวญี่ปุ่นที่นิยมดื่มชาร้อนๆ มานานนับหลายศตวรรษแล้ว แต่ชาเหล่านี้ มีดีอย่างไร มีประโยชน์อย่างไร มาไขความลับสุขภาพดีจากชากันดีกว่า “ฟลาโวนอยด์” เคล็ดลับสุขภาพดีของชา สารฟลาโวนอยด์ เป็นสารที่พบได้ในผักผลไม้หลายชนิด ไม่ได้พบแค่ในชาเขียว และชาดำเท่านั้น แ ต่ ห า ก ยั ง พ บ ไ ด้ ใ น  ยอ   ส า ร ส กั ด จ า ก เ ม ล็ ด อ งุ่ น    ก ร ะ ช า ย ดำ    ถั่ ว เ ห ลื อ ง  แ ล ะ เ ค รื่ อ งดื่ ม อ ย่ า ง ไ ว น์  เป็นต้น ฟลาโวนอยด์ มีคุณสมบัติเป็น สารต้านอนุมูลอิสระ จึงมีประโยชน์ต่อร่างกายมากมาย ฟลาโวนอยด์ที่พบในพืช แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ นารินจิน (Naringin) เป็นสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ ที่ให้รสขม ในเปลือกของผลไม้ พืชตระกูลส้ม (citrus fruit) แคทีชิน (Catechin) พบในใบชา พ บ ม า ก ใ น ช า เ ขี ย ว ประโยชน์ของฟลาโวนอยด์ ลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจ และหลอดเลือด (รวมถึงโรคหัวใจ และหลอดเลือดส

อยากผิวพรรณเปล่งปลั่ง ทานน้ำผึ้งซิ

รูปภาพ
อยากผิวพรรณเปล่งปลั่ง ทานน้ำผึ้งซิ ใครชอบอาหารรสหวาน คงขาดไม่ได้ ที่จะต้องเติม “ น้ำผึ้ง ”  เหนียวหนืด สีเหลืองอำพันลงไป เพื่อเพิ่มรสชาติ หรือจะกินพร้อมกับขนมปัง ราดแพนเค้กนุ่มๆ ก็อร่อยดีค่ะ แต่นอกจากความอร่อยแล้ว น้ำผึ้งมีประโยชน์มากมายเหลือเกิน ในน้ำผึ้งประกอบด้วยฟรักโทส กับ กลูโคส มีวิตามิน และแร่ธาตุผสมอยู่  เช่น วิตามินเอ, บี2, บี3, บี5, บี6, วิตามินซี,  แคลเซียม,   กรดโฟลิก,  โพแทสเซียม,   แมกนีเซียม,  ฟอสฟอรัส,   โซเดียม, เหล็ก, สังกะสี, ทองแดง และสารต้านอนุมูลอิสระ 7 ประโยชน์ดีๆ ของน้ำผึ้ง มีแร่ธาตุ ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ช่วยชะลอความเสื่อมของเซลล์  บำรุงโลหิต ปรับสมดุลร่างกาย และควบคุมน้ำหนัก เ ห ม า ะ สำ ห รั บ ผู้ ที่ รั ก สุ ข ภ า พ แ ล ะ ผู้ ที่ มี ปั ญ ห า สุ ข ภ า พ ช่วยบรรเทาอาการไอแห้งๆ แบบไม่มีเสมหะ และอาการไอแบบเรื้อรัง ช่วยขับล้างสารพิษตกค้างต่างๆ ออกจากร่างกาย แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ เพราะ ใ น น้ำ ผึ้ ง มี โ พ แ ท ส เ ซี ยม ที่ ช่ ว ย ป รั บ ส ม ดุ ล ใ น ร่ า ง ก า ย ปรับสภาพผิวและบรรเทาโรคผิวหนังได้ เพราะ มี ส า ร ต่ อ ต้ า น อ นุ มู ล อิ ส ร

ระวัง!! 8 โรคร้ายนี้มากับออฟฟิศซินโดรม

รูปภาพ
ระวัง!! 8 โรคร้ายนี้มากับออฟฟิศซินโดรม ฝากข่าวถึงมนุษย์ออฟฟิศ ที่ต้องนั่งทำงานในออฟฟิศทั้งวัน ทำงานนั่งโต๊ะเป็นเวลานาน หรือ ต้องยกของหนักซ้ำๆ ท่าเดิมๆ ไม่ได้ ออกกำลังกาย   หรือ ขยับร่างกายเปลี่ยนอิริยาบถ จนเริ่มมีอาการปวดหลัง คอ บ่า ไหล่ ปวดหัว ปวดตา อ ย่ า ไ ด้ ม อ ง ข้ า ม  เ พ ร า ะ อ า ก า ร เ ห ล่ า นี้ ล้ ว น เ ป็ น อ า ก า ร ข อ ง โรค ออฟฟิศซินโดรม  ซึ่งถ้าไม่บำบัดรักษา หรือ ป้องกันเสียตั้งแต่ต้น ก็อาจกลายเป็นอันตรายร้ายแรงต่อ สุขภาพ ได้ สาเหตุของโรคออฟฟิศซินโดรม พ.ญ.สุคนธมาศ เสรีสิทธิธรรม แพทย์ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลพระรามเก้า กล่าวว่า ส า เ ห ตุ ข อ ง โ ร ค อ อ ฟ ฟิ ศ ซิ น โ ด ร ม เ กิ ด จ า ก ก า ร นั่ ง ทำ ง า น ใ น อิ ริ ย า บ ถ เ ดิ  ม น า น ๆ แ ล ะ ไ ม่ มี ก า ร ผ่ อ น ค ล า ย ก ล้ า ม เ นื้ อ  ยืด ขยับ ปรับเปลี่ยนท่าทาง หรือ เกิดจาก การเพ่งใช้สายตามากๆ ใน การนั่งจ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์นานเกินไป บวกกับรังสีจากจอภาพ ทำให้เกิดอาการปวดหัว ปวดตา ได้ ร ว ม ถึ ง ส ภ า พ แ ว ด ล้อ ม ใ น ก า ร ทำ ง า น ที่ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม  เช่น  โต๊ะเก้าอี้ไม่เหมาะกับสรีระ 

ลดความดันตามฉบับแพทย์แผนไทยด้วยเมนูยำตะไคร้

รูปภาพ
ลดความดันตามฉบับแพทย์แผนไทย ด้วยเมนู ยำตะไคร้ แพทย์แผนไทยแนะ เ ส ริ ม เ ก ร า ะ ป้ อ ง กั น โ ร ค ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง ด้ ว ย พื ช ส มุ น ไ พ ร ผักพื้นบ้าน ชูเมนูอาหารทำง่าย  ยำ ต ะ ไ ค ร้ ป้องกันและลดภาวะความดันโลหิตสูง สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง น.พ.สรรพงศ์  ฤทธิรักษา รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในฐานะ รองโฆษกกรมการแพทย์แผนไทยฯ กล่าวว่า โ ร ค ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง  หรือ  ภ า ว ะ ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง  เป็นโรคที่ พ บ บ่ อ ย ใ น ผู้ ใ ห ญ่ และ ผู้ สู ง อ า ยุ พบในผู้ชาย มากกว่า ผู้หญิง สาเหตุเกิดจาก ก า ร บ ริ โ ภ ค อ า ห า ร ร ส เ ค็ ม  ติดสุรา   สูบบุหรี่  ผู้ที่มีรูปร่างอ้วน   โรค เบาหวาน   ขาดการ ออกกำลังกาย  พันธุกรรม     เป็นต้น อาการของโรคความดันโลหิตสูง อาการของโรคความดันโลหิตสูง จ ะ แ ส ด ง อ า ก า ร เ มื่ อ ถึ ง ขั้ น วิ ก ฤ ต  แ ล ะ มี ภ า ว ะ ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง เ ป็ น เ ว ล า น า น อาการที่พบ เช่น ปวดศีรษะบริเวณท้ายทอยในตอนเช้า อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน บางรายอาจตาพร่ามัวร่วมด้วย ห า ก มี อ า ก า ร รุ น แ ร

ชาวออฟฟิศไม่อยากปวดหลัง ต้องหมั่นดูแลด้วยวิธีนี้

รูปภาพ
ชาวออฟฟิศไม่อยากปวดหลัง ต้องหมั่นดูแลด้วยวิธีนี้ เชื่อว่าหลายคนต้องมีประสบการณ์ปวดหลัง ไม่ว่าจะปวดเล็กน้อย เมื่อยขบแค่ไม่กี่นาที ไปจนถึงปวดหลังนานเป็นวันๆ ต้องเพิ่งยากอเอี๊ยะ หรือ ไปพบแพทย์กันเลยทีเดียว แต่ละคนก็มีสาเหตุในอาการปวดหลังแตกต่างกันไป ทั้งพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต ออฟฟิศซินโดรม หรือแม้กระทั่งการออกกำลังกาย วันนี้แอดขอแนะนำ 10 วิธีดูแลกระดูกสันหลัง ลดอาการปวดหลัง มาให้ทุกคนได้ศึกษากันค่ะ 1. เลือกเก้าอี้นั่งทำงานให้ดี ป รั บ เ บ า ะ ใ ห้ สู ง กำ ลั ง ดี  สั ง เ ก ต ไ ด้ จ า ก ก า ร ว า ง มื อ ล ง บ น แ ป้ น พิ ม พ์ ค อ ม พิ  ว เ ต อ ร์ มุมข้อศอกต้องทำมุม 90 องศา หรือมุมฉาก จ ะ ไ ด้ ไ ม่ ต้ อ ง ย ก ไ ห ล่ พิ ม พ์ น า น ๆ 2. อย่านั่งไขว่ห้างนานๆ ป รั บ เ ป ลี่ ย น ท่ า นั่ ง เ รื่ อ ย ๆ เพราะการนั่งไขว่ห้างทำให้น้ำหนักเอียงไปสะโพกข้างใดข้างหนึ่งมากเกินไป 3. อย่านั่งไม่เต็มเบาะนั่ง หากเบาะของเก้าอี้นั่งไม่สบาย หรือ นั่งเต็มเบาะ พิงพนักแล้วไม่สบายหลัง ให้ลอง ห า ห ม อ น เ ล็ ก ๆ แ บ น ๆ  ห รื อ  พ นั ก พิ ง นุ่ ม ๆ มาใส่ที่พนักพิงของเก้าอี้แทน 4. หากจำเป็นต้องยืนนานๆ

กินมังคุดคู่ทุเรียนดีจริงป่าว

รูปภาพ
กินมังคุดคู่ทุเรียนดีจริงป่าว หน้าร้อนนี้เป็นหน้าทุเรียน ที่ใครหลายคนยากจะอดใจไหว แต่บริโภคมากเกินไปก็อาจเกิดอันตรายต่อร่างกายได้ มีผู้แนะนำให้ รั บ ป ร ะ ท า น “มังคุด” เ พื่ อ ช่ ว ย ล ด อั น ต ร า ย ที่ เ กิ ด จ า ก ทุ เ รี ย น  แ ล้ ว มั น ไ ด้ ผ ล จ ริ ง ห รื อ ? อันตรายจากการรับประทานทุเรียนมากเกินไป พญ.พรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า ทุเรียนจัดอยู่ในอาหารกลุ่มผลไม้ที่มีวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ รวมทั้งเป็นแหล่งของคาร์โบไฮเดรต ห า ก ต้ อ ง ก า ร กิ น ทุ เ รี ย น  ใ ห้  ไ ด้ รั บ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ คุ ณ ค่ า ท า ง ส า ร อ า ห า  ร ที่ เ ห  ม า ะ ส ม ไ ม่ ค ว ร กิ น ทุ เ รี ย น เ กิ น วั น ล ะ  2  เ ม ล็ ด ไม่กินถี่ทุกวัน และลดอาหารกลุ่มข้าวแป้ง ของหวาน ในมื้อที่กินทุเรียน ถ้าใครชอบกินทุเรียนมาก โดย  กิ น ค รั้ ง ล ะ ป ร ะ ม า ณ   2 - 3   พู หรือ  4-6  เ ม็ ด  เท่ากับร่างกายจ ะ รั บ พ ลั ง ง า น สู ง ถึ ง  520-780  กิ โ ล แ ค ล อ รี ซึ่งเทียบเท่ากับกินข้าวมันไก่ 2 จาน หรือเท่ากับการกินอาหาร 2 มื้อ นอกจากนี้  คนที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรค