ระวัง!! 8 โรคร้ายนี้มากับออฟฟิศซินโดรม

ระวัง!! 8 โรคร้ายนี้มากับออฟฟิศซินโดรม


ฝากข่าวถึงมนุษย์ออฟฟิศ ที่ต้องนั่งทำงานในออฟฟิศทั้งวัน ทำงานนั่งโต๊ะเป็นเวลานาน หรือ ต้องยกของหนักซ้ำๆ ท่าเดิมๆ ไม่ได้ออกกำลังกาย หรือ ขยับร่างกายเปลี่ยนอิริยาบถ จนเริ่มมีอาการปวดหลัง คอ บ่า ไหล่ ปวดหัว ปวดตา อ ย่ า ไ ด้ ม อ ง ข้ า ม  เ พ ร า ะ อ า ก า ร เ ห ล่ า นี้ ล้ ว น เ ป็ น อ า ก า ร ข อ ง โรคออฟฟิศซินโดรม ซึ่งถ้าไม่บำบัดรักษา หรือ ป้องกันเสียตั้งแต่ต้น ก็อาจกลายเป็นอันตรายร้ายแรงต่อสุขภาพได้

สาเหตุของโรคออฟฟิศซินโดรม

พ.ญ.สุคนธมาศ เสรีสิทธิธรรม แพทย์ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลพระรามเก้า กล่าวว่า ส า เ ห ตุ ข อ ง โ ร ค อ อ ฟ ฟิ ศ ซิ น โ ด ร ม เ กิ ด จ า ก ก า ร นั่ ง ทำ ง า น ใ น อิ ริ ย า บ ถ เ ดิ  ม น า น ๆ แ ล ะ ไ ม่ มี ก า ร ผ่ อ น ค ล า ย ก ล้ า ม เ นื้ อ ยืด ขยับ ปรับเปลี่ยนท่าทาง หรือ เกิดจากการเพ่งใช้สายตามากๆ ในการนั่งจ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์นานเกินไป บวกกับรังสีจากจอภาพ ทำให้เกิดอาการปวดหัว ปวดตา ได้ ร ว ม ถึ ง ส ภ า พ แ ว ด ล้อ ม ใ น ก า ร ทำ ง า น ที่ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม  เช่น โต๊ะเก้าอี้ไม่เหมาะกับสรีระ ออฟฟิศแออัด อากาศไม่ถ่ายเท เป็นต้น นอกจากนี้ ก า ร ทำ ง า น อ ย่ า ง ห นั ก เ กิ น ไ ป จ น ทำ ใ ห้ พั ก ผ่ อ น น้ อ ย  บวกกับ  สั ง ค ม ใ น ที่ ทำ ง า น เ ป็ น พิ ษ ทำ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ ค รี ย ด ส ะ ส ม สิ่งเหล่านี้ล้วน ส่งผลกระทบ ต่อการทำงาน และ การใช้ชีวิต เป็นอย่างยิ่ง หากปล่อยไว้ ไ ม่ รั ก ษ า  หรือ  ไ ม่ เ ป ลี่ ย น พ ฤ ติ ก ร ร ม  ก็ อ า จ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด อั น ต ร า ย ต า ม ม า

สารพัดโรคร้ายจาก "ออฟฟิศซินโดรม" 

ออฟฟิศซินโดรม เสี่ยง 8 โรคอันตราย ดังต่อไปนี้
  1. หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท 
  2. กระดูกสันหลังคด
  3. โรคซึมเศร้า อั น ม า จ า ก ค ว า ม เ ค รี ย ด  ค ว า ม ก ด ดั น และ บ ร ร ย า ก า ศ ไ ม่ ดี ใ น ที่ ทำ ง า น
  4. แขนขาอ่อนแรง ถ้ารุนแรงมากอาจทำให้กล้ามเนื้อหด ยึด ตึง
  5. โรคเบาหวาน
  6. ความดันโลหิตสูง
  7. ไขมันในเลือดสูง จ า ก ก า ร กิ น จุ ก กิ น จิ บ ใ น เ ว ล า ทำ ง า น และไม่ได้ออกกำลังกาย
  8. โรคอ้วน

วิธีรักษาโรคออฟฟิศซินโดรม

วิธีรักษาโรคออฟฟิศซินโดรม ส า ม า ร ถ เ ริ่ ม ต้ น ไ ด้ จ า ก ตั ว เ อ ง  เช่น
  1. หากเริ่มรู้สึกเมื่อยล้า ไ ม่ ค ว ร นั่ ง ทำ ง า น ติ ด กั น น า น เ กิ น ไ ป ควรพักการทำงาน เพื่อผ่อนคลายสมองและร่างกาย เช่น ลุกขึ้น ยืดเส้นยืดสาย เดินไปสูดอากาศด้านนอก
  2. หมั่นออกกำลังกาย เพื่อยืดและคลายกล้ามเนื้อ เช่น ว่ายน้ำ โยคะ ปั่นจักรยาน นอกจาก จ ะ ช่ ว ย ล ด อ า ก า ร เ ก ร็ ง ข อ ง ก ล้ า ม เ นื้ อ  ป้ อ ง กั น ข้ อ แ ล ะ เ อ็ น ยึ ด แ ล้ ว  ยั ง ช่ ว ย ผ่ อ น ค ล า ย ค ว า ม เ ค รี ย ด  และ  เ ส ริ ม ภู มิ ต้ า น ท า น ให้ร่างกาย ได้อีกด้วย
  3. ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในที่ทำงาน เช่น ทำ ค ว า ม ส ะ อ า ด อ อ ฟ ฟิ ศ ใ ห้ โ ล่ ง แ ล ะ อ า ก า ศ ถ่ า ย เ ท ม า ก ขึ้ น  เปลี่ยนโต๊ะและเก้าอี้ให้เหมาะกับสรีระ ก็สามารถช่วยให้บรรยากาศในการทำงาน ผ่อนคลาย ขึ้น
  4. หากเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแล้ว อาการปวดกล้ามเนื้อ ยังไม่ดีขึ้น ยังคง ป ว ด เ รื้ อ รั ง  ป ว ด จ น น อ น ไ ม่ ห ลั บ ทำ ง า น ไ ม่ ไ ด้  มี แ ข น ข า อ่ อ น แ ร ง ควรรีบปรึกษาแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู  เ พื่ อ รั บ ก า ร ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น รั ก ษ า ด้ ว ย ย า ร่ ว ม กั บ ก า ร ทำ ก า ย ภ า พ บำ บั ด 3-7 ครั้ง ขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรงของโรค 

อย่างไรก็ตาม ถ้ า ไ ม่ แ น่ ใ จ ว่ า กำ ลั ง เ ผ ชิ ญ กั บ  อ า ก า ร อ อ ฟ ฟิ ศ ซิ น โ ด ร  ม  หรือ  เ ป็ น อ า ก า ร ป ว ด ทั่ ว ไ ป  เนื่องจาก มีการปวดเหมือนกัน แต่สาเหตุต่างกัน และห า ก ดู แ ล ตั ว เ อ ง แ ล้ ว อ า ก า ร ยั ง ไ ม่ ดี ขึ้ น ค ว ร รี บ พ บ แ พ ท ย์  เพื่อตรวจประเมิน และรักษาป้องกัน เพื่อไม่ให้กลายเป็น โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง เพราะจะทำให้ สุขภาพทั้งกายและจิตใจ แย่ลง และ ใช้ระยะเวลาในการรักษา ที่กินเวลายาวนานมากขึ้นอีกด้วย

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้