เข็มสะกิดพิชิตออฟฟิศซินโดรม

เข็มสะกิดพิชิตออฟฟิศซินโดรม


"โอ๊ย...ทำไมรู้สึกหนักหัว ปวดหัวตุ๊บๆ คอ บ่า ไหล่ หลัง ตึงไปหมด จะก้มจะเงย จะหันซ้าย หันขวา แต่ละครั้ง รู้สึกตึงปวดมาก บางครั้ง มีอาการปวดร้าวลงแขน ยกแขนไม่ค่อยขึ้น แล้วยังรู้สึกชาๆ เหมือนไม่ค่อยมีแรงด้วย บ า ง ค รั้ ง มี อ า ก า ร ตึ ง ก ล้ า ม เ นื้ อ ป ว ด ร้ า ว ขึ้ น ศี ร ษ ะ ก ร ะ ทั่ ง คิ ด ว่ า เ ป็ น โ ร ค ไ ม เ ก ร น"
อาการเหล่านี้ มักจะพบได้บ่อย โดยเฉพาะ คนวัยทำงาน ที่มักจะนั่งจ้อง อยู่หน้าคอมพิวเตอร์ ในท่าเดียว วันละหลายชั่วโมง หรือ นั่ ง แ ล ะ ยื น ทำ ง า น อ ยู่ ใ น ท่ า เ ดิ  ม ๆ ติ ด ต่ อ กั น เ ป็ น เ ว ล า น า น  โดยไม่ได้เปลี่ยนอิริยาบถ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ใ ห้ ก ล้ า ม เ นื้ อ ห ด เ ก ร็ ง ยิ่ ง ป ล่ อ ย ไ ว้ เ นิ่ น น า น เ ป็ น เ ดื อ น เ ป็ น ปี  อ า ก า ร ป ว ด เ ก ร็ ง จ ะ รุ น แ ร ง ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ จนกลายเป็น โรคฮิต ของวัยทำงาน นั่นคือ "โรคออฟฟิศซินโดรม"
สอดคล้องกับ นายแพทย์ธรรมสรณ์ เจษฎาเชษฐ์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู รพ.สมิติเวช สุขุมวิท เล่าให้ฟังว่า ป ร ะ ม า ณ 90% ข อ ง ค น ไ ข้ ที่ ม า ห า ห ม อ ล้ ว น มี อ า ก า ร ข อ ง อ อ ฟ ฟิ ศ ซิ น โ ด ร ม แ ล้ ว ตำ แ ห น่ ง ที่ พ บ ว่ า มี อ า ก า ร ป ว ด ม า ก ที่ สุ ด ห นี ไ ม่ พ้ น คอ บ่า สะบัก หลัง รองลงมา จะเป็นกลุ่มปวด หัวไหล่ สะโพก ข้อพับเข่า น่อง เท้า อย่างไรก็ตาม เพื่อไม่ให้คนไข้รู้สึกเสียขวัญ และรู้สึกผ่อนคลาย ผมมักจะปลอบใจคนไข้เสมอๆ ว่า ไ ม่ ต้ อ ง วิ ต ก กั ง ว ล อ า ก า ร ป ว ด ก ล้ า ม เ นื้ อ ไ ม่ ว่ า จ ะ ป ว ด ตำ แ ห น่ ง ใ ด ก็ต า ม ไ ม่ ใ ช่ โ ร ค ร้ า ย แ ร ง รั ก ษ า ใ ห้ ห า ย ไ ด้ ง่ า ย มีหลากหลายวิธี ให้เลือก เช่น การฝังเข็ม การนวด การประคบอุ่น รวมกระทั่ง ก ารใช้เครื่องมือต่างๆ เช่น เครื่องยืดกล้ามเนื้อ อัลตราซาวนด์ เลเซอร์ ช็อกเวฟ คลื่นแม่เหล็ก ฯลฯ หมอจะช่วยอธิบาย และเลือกวิธีการรักษา ที่เหมาะสม ให้กับคนไข้ เป็นรายๆ ไป
ในบทความนี้ หมอขอแนะนำ แนวทางการรักษา อีกรูปแบบหนึ่ง ที่หลายคน ไม่รู้จัก "การฝังเข็มแบบฝรั่ง" หรือ Dry Needling Therapy หรือ เข็มสะกิด จ ะ เ ป็ น ก า ร ฝั ง เ ข็ ม เ ล็ ก ๆ แ บ บ เ ดี ย ว กั บ เ ข็ ม จี น ผ่ า น เ ข้ า สู่ ผิ ว ห นั ง โ ด ย ป ล า ย เ ข็ ม จ ะ ไ ป ส ะ กิ ด ใ ย ก ล้ า ม เ นื้ อ ที่ ห ด เ ก ร็ ง อ ยู่ ใ ห้ ค ล า ย อ อ ก ม า ทั น ที ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที อย่างไรก็ดี จากการสอบถาม คนไข้หลายราย  บอกว่า วิธีนี้เห็นผล ในการรักษา เร็ว หลังฝังเข็ม คนไข้จะรู้สึกได้ทันที ว่ากล้ามเนื้อผ่อนคลาย  ไม่เป็นก้อน แข็ง เกร็ง แต่อาจรู้สึก ระบมเล็กน้อย บริเวณลงเข็ม 1-2 วันจากนั้น ก็หายเป็นปกติ ก า ร รั ก ษ า ด้ ว ย วิ ธี นี้ มี ข้ อ จำ กั ด ใ ช้ ไ ด้ กั บ เ ฉ พ า ะ ผู้ ที่ ไ ม่ ก ลั ว เ ข็ ม เ ท่ า นั้ น หากกลัวเข็ม ควรเลือกการรักษา ด้วยวิธีอื่นแทน


การฝังเข็มสะกิด เป็นอย่างไร?               

การฝังเข็มสะกิด ปัจจุบัน ยังไม่เป็นที่รู้จัก อย่างแพร่หลาย ยังรู้จัก ในวงแคบๆ และหากเอ่ยถึง การฝังเข็ม คนส่วนใหญ่ จะนึกถึง การฝังเข็มแบบจีน ซึ่งการฝังเข็มแบบจีน จะฝังเข็ม ทั่วทั้งตัว  เพื่อไปกระตุ้น เส้นลมปราณ หรือ ให้เลือดลม เดินสะดวก ต่างจาก ก า ร ฝั ง เ ข็ ม ส ะ กิ ด จ ะ ฝั ง เ ข็ ม เ ฉ พ า ะ จุ ด ที่ ป ว ด เ พี ย ง ไ ม่ กี่ เ ล่ ม เ ท่ า นั้ น แต่ใช้เข็ม แบบเดียวกัน นี่คือความต่าง ของการฝังเข็ม  2 แบบ
มีคนไข้หลายคน ถามว่า หลังเข้ารับการรักษาแล้ว โรคออฟฟิศซินโดรม มีโอกาสกลับมา เป็นอีกหรือไม่ หมอตอบว่า ต ร า บ ใ ด ค น ไ ข้ ยั ง ไ ม่ ป รั บ เ ป ลี่ ย น พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ทำ ง า น ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต ป ร ะ จำ วั น แ ล้ ว ล่ ะ ก็ "โรคออฟฟิศซินโดรม" ก ลั บ ม า แ น่ ดังนั้น ในช่วงที่ทำงาน ควรจัดร่างกาย ให้อยู่ในท่า ที่ถูกต้อง ถ้ า รู้ สึ ก เ มื่ อ ย ล้ า ค ว ร พั ก ก า ร ทำ ง า น สั ก ร ะ ย ะ ห นึ่ ง เ พื่ อ ใ ห้ ร่ า ง ก า ย แ ล ะ ส ม อ ง รู้ สึ ก ผ่ อ น ค ล า ย อ า จ จ ะ ใ ช้ วิ ธี  ลุ ก ขึ้ น เ ดิ น อ อ ก ไ ป สู ด อ า ก า ศ ด้ า น น อ ก  ลุ ก ขึ้ น ยื ด เ ส้ น ยื ด ส า ย ใ ห้ ร่ า ง ก า ย ไ ด้ ข ยั บ เ ข ยื้ อ น บ้ า ง คือ ไม่ควรนั่งอยู่กับเก้าอี้ เป็นเวลานานๆ นอกจากนี้ ควรหาเวลา ออกกำลังกาย เช่น ว่ายน้ำ เล่นโยคะ ปั้นจักรยาน วิ่งจ๊อกกิ้ง เป็นต้น ก า ร อ อ ก กำ ลั ง ก า ย น อ ก จ า ก ช่ ว ย ใ ห้ สุ ข ภ า พ แ ข็ ง แ ร ง แ ล้ ว ยั ง ล ด อ า ก า ร เ ก ร็ ง ข อ ง ก ล้ า ม เ นื้ อ  ป้ อ ง กั น เ อ็ น แ ล ะ ข้ อ ยึ ด  ก า ร อ อ ก กำ ลั ง ก า ย ยั ง ผ่ อ น ค ล า ย ค ว า ม เ ค รี ย ด ไ ด้ อี ก ด้ ว ย   เ ห นื อ สิ่ ง อื่ น ใ ด ก า ร ป้ อ ง กั น ย่ อ ม ดี ก ว่ า ก า ร รั ก ษ า
ขอขอบคุณ
ข้อมูล: นายแพทย์ธรรมสรณ์ เจษฎาเชษฐ์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู รพ.สมิติเวช สุขุมวิท

ลิงค์น่าสนใจ
กระดูกทับเส้น
นิ้วล็อค
เลี่ยงอัมพฤกษ์อัมพาต
ออฟฟิศซินโดรม
ปวดต้นคอ
ตะคริว
กระดูกทับเส้น
นิ้วล็อค
ปวดเมื่อย
กระดูกสันหลังเคลื่อน

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้