ลดความดันตามฉบับแพทย์แผนไทยด้วยเมนูยำตะไคร้

ลดความดันตามฉบับแพทย์แผนไทย ด้วยเมนู ยำตะไคร้

แพทย์แผนไทยแนะ เ ส ริ ม เ ก ร า ะ ป้ อ ง กั น โ ร ค ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง ด้ ว ย พื ช ส มุ น ไ พ ร ผักพื้นบ้าน ชูเมนูอาหารทำง่าย  ยำ ต ะ ไ ค ร้ ป้องกันและลดภาวะความดันโลหิตสูง


สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง

น.พ.สรรพงศ์  ฤทธิรักษา รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในฐานะ รองโฆษกกรมการแพทย์แผนไทยฯ กล่าวว่า โ ร ค ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง  หรือ  ภ า ว ะ ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง  เป็นโรคที่ พ บ บ่ อ ย ใ น ผู้ ใ ห ญ่ และ ผู้ สู ง อ า ยุ พบในผู้ชาย มากกว่า ผู้หญิง สาเหตุเกิดจาก ก า ร บ ริ โ ภ ค อ า ห า ร ร ส เ ค็ ม ติดสุรา สูบบุหรี่ ผู้ที่มีรูปร่างอ้วน โรคเบาหวาน ขาดการออกกำลังกาย พันธุกรรม  เป็นต้น


อาการของโรคความดันโลหิตสูง

อาการของโรคความดันโลหิตสูง จ ะ แ ส ด ง อ า ก า ร เ มื่ อ ถึ ง ขั้ น วิ ก ฤ ต  แ ล ะ มี ภ า ว ะ ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง เ ป็ น เ ว ล า น า น อาการที่พบ เช่น
  • ปวดศีรษะบริเวณท้ายทอยในตอนเช้า
  • อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน
  • บางรายอาจตาพร่ามัวร่วมด้วย
  • ห า ก มี อ า ก า ร รุ น แ ร ง หรือ ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง ขึ้ น อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว อาจมีอาการเลือดกำเดาไหล เหนื่อยง่าย และ เกิดภาวะแทรกซ้อน ที่เป็นอันตรายต่อชีวิตได้
ทั้งนี้ คนปกติจะมีความดันโลหิตประมาณ 120/80 มม.ปรอท – 140/90 มม.ปรอท ห า ก สู ง ก ว่ า นี้ ทั้ ง ตั ว บ น  และ  ตั ว ล่ า ง  ถื อ ว่ า เ ป็ น ก ลุ่ ม เ สี่ ย ง ต้องหมั่นสังเกตความเปลี่ยนแปลง


สูตรอาหารไทย ลดความดันโลหิตสูง

เนื่องจาก ส า เ ห ตุ ห ลั ก ๆ ม า จ า ก  พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร บ ริ โ ภ ค อ า ห า ร ดังนั้น มีการนำพืชผักพื้นบ้าน มาปรุงเป็นอาหาร เพื่อป้องกัน และ รักษา ภาวะความดันโลหิตสูง ตัวอย่างเช่น ตะไคร้ ใบย่านาง ใบบัวบก กระเจี๊ยบ มะรุม ขิง กระเทียม กะเพรา หม่อน ฯลฯ
เมนูที่จะขอแนะนำ คือ “ยำตะไคร้” เนื่องจาก ตะไคร้เป็นที่รู้จักกันดี สามารถหาได้ง่าย ในชุมชน และ ต ะ ไ ค ร้ มี ฤ ท ธิ์ ช่ ว ย ขั บ ปั ส ส า ว ะ แ ก้ อ า ก า ร ขั ด เ บ า ซึ่งมีผล ช่วยลดความดันโลหิต ได้เป็นอย่างดี


วิธีทำ

  1. นำโปรตีน 100 กรัม (หมู ปลา ไก่) ที่ทำให้สุกแล้ว ผสมกับ ตะไคร้ซอย 6 ต้น หอมแดงซอย 2 หัว พริกขี้หนูซอย 2 เม็ด น้ำมะนาว  3 ช้อนโต๊ะ น้ำตาลปี๊บ 2 ช้อนชา น้ำปลา 1 ช้อนชา คลุกเคล้า ให้เข้ากัน
  2. ตักใส่จาน โรยหน้า ด้วยถั่วลิสงคั่ว และใบสะระแหน่ 
  3. เ ส ริ ม น้ำ ส มุ น ไ พ ร ที่ ช่ ว ย ล ด ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต ได้แก่ น้ำตะไคร้ น้ำใบเตย น้ำบัวบก น้ำขิง ฯ

ส่วนยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ คือ ย า ห ญ้ า ห น ว ด แ ม ว  และ ย า ก ร ะ เ จี๊ ย บ แ ด ง  ยาทั้งสองชนิด มี ส ร ร พ คุ ณ ขั บ ปั ส ส า ว ะ  ล ด ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต แต่ยาทั้งสองชนิดนี้ ไ ม่ ค ว ร ใ ช้ ใ น ผู้ ที่ มี ก า ร ทำ ง า น ข อ ง หั ว ใ จ  และ ไ ต บ ก พ ร่ อ ง เนื่องจาก มีแร่ธาตุโพแทสเซียมสูง ทำให้ อาการของโรคหัวใจ และ โรคไต กำเริบ


เคล็ดลับดีๆ ช่วยลดความดันโลหิตสูง

  1. พักผ่อนให้เพียงพอ 
  2. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 
  3. จำ กั ด ก า ร บ ริ โ ภ ค อ า ห า ร ร ส เ ค็ ม จั ด  ห ว า น จั ด และ อาหารไขมันสูง 
  4. หากิจกรรมนันทนาการผ่อนคลายความเครียด เช่น ฟังเพลง ดูหนัง ปลูกต้นไม้ เป็นต้น




ขอขอบคุณ

ข้อมูล :กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก


ลิงค์น่าสนใจ
กระดูกคอเสื่อม(1)
กระดูกคอเสื่อม(2)
กระดูกคอเสื่อม(3)
กระดูกคอเสื่อม(4)
กระดูกคอเสื่อม(5)
กระดูกคอเสื่อม(6)
หมอนรองกระดูกเสื่อม1
หมอนรองกระดูกเสื่อม2
หมอนรองกระดูกเสื่อม3
หมอนรองกระดูกเสื่อม4
หมอนรองกระดูกเสื่อม5
หมอนรองกระดูกเสื่อม6




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้