ระวัง!! นิ้วล้อกเพราะติดมือถือ

ระวัง!! นิ้วล้อกเพราะติดมือถือ


นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า ปัจจุบันเทคโนโลยี มีบทบาท กับการใช้ชีวิต มากขึ้น โดยเฉพาะ โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ  ส ม า ร์ ท โ ฟ น  แ ท็ บ เ ล็ ต  ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ที่ใช้ในการทำงาน อัพเดทข่าวสาร แชทคุยกับเพื่อน เล่นเกม ตลอดเวลา ซึ่ง พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ห ล่ า นี้ เ สี่ ย ง ต่ อ โ ร ค นิ้ ว ล็ อ ก และพบว่า ผู้ ห ญิ ง เ สี่ ย ง เ ป็ น โ ร ค นี้ ม า ก ก ว่ า ผู้ ช า ย  รวมถึง แม่บ้าน ที่ซักผ้าด้วยมือ ถือถุง หิ้วตะกร้าไปจ่ายตลาด ทำกับข้าว แม่ค้า พ่อครัว คนทำสวน ทำไร่ ช่างทำผม ช่างตัดเสื้อผ้า ช่างไม้ ช่างที่ใช้ไขควง เลื่อย ค้อนต่างๆ เป็นประจำ ผู้ที่ชอบเล่นกีฬาบางประเภท เช่น แบดมินตัน เทนนิส กอล์ฟ 

นอกจากนี้ ยังพบว่า ผู้ ป่ ว ย โ ร ค ข้ อ อั ก เ ส บ ช นิ ด รู ม า ต อ ย ด์ มี ค ว า ม เ สี่ ย ง เ ป็ น โ ร ค นิ้ ว ล็ อ ก โรคนี้เกิดจาก การอักเสบของ เยื่อหุ้มเส้นเอ็นงอนิ้ว ที่บริเวณฝ่ามือ ตรงตำแหน่งโคนนิ้ว มีโอกาสเป็นได้ทุกนิ้ว ผู้ ป่ ว ย จ ะ มี อ า ก า ร นิ้ ว ล็ อ ก  กำ มื อ ง อ นิ้ ว ไ ด้ แ ต่ เ ว ล า เ ห ยี ย ด อ อ ก นิ้ ว ใ ด นิ้ ว ห นึ่ ง จ ะ เ ห ยี ย ด ไ ม่ อ อ ก เ ห มื อ น โ ด น ล็ อ ก ไ ว้ อาการแบ่งเป็น 4 ระยะ คือ

ระยะที่ 1 มีอาการ ป ว ด บ ริ เ ว ณ ฝ่ า มื อ ต ร ง กั บ โ ค น นิ้ ว มื อ และมีอาการมากขึ้น เมื่อกดหรือบีบ บริเวณฐานนิ้วมือ ด้านหน้า

ระยะที่ 2 เมื่องอแล้วเหยียด  ข้ อ นิ้ ว จ ะ ส ะ ดุ ด  และปวดเพิ่มมากขึ้น

ระยะที่ 3 เมื่อ ง อ นิ้ ว ล ง ไ ป แ ล้ ว จ ะ ติ ด ล็ อ ก ไม่สามารถเหยียดนิ้ว ออกเองได้ หรืออาจมีอาการมากขึ้น จนไม่สามารถงอนิ้ว ลงได้

ระยะที่ 4 มีอาการ อั ก เ ส บ บ ว ม ม า ก จ น นิ้ ว บ ว ม ติดอยู่ในท่างอ เล็กน้อย ไม่สามารถเหยียด ให้ตรงได้ หากพยายามเหยียด จะทำให้ปวดมาก โรคนิ้วล็อก ไม่ใช่โรคอันตราย แต่ก่อให้เกิด ความรำคาญ และ ห า ก ป ล่ อ ย ทิ้ ง ไ ว้ อ า จ ทำ ข้ อ ต่ อ ยึ ด แ ล ะ เ ห ยี ย ด ไ ม่ อ อ ก ข ยั บ ไ ม่ ไ ด้ พังผืดรอบข้อต่อ ของนิ้วยึดแข็ง ทำ ใ ห้ พิ ก าร ไ ด้

นพ.สมพงษ์ ตันจริยภรณ์ ผอ.รพ.เลิดสิน กรมการแพทย์ กล่าวว่า ก า ร รั ก ษ า โ ร ค นิ้ ว ล็ อ ก จ ะ รั ก ษ า ต า ม ร ะ ย ะ ข อ ง อ า ก า ร โดยอาการในระยะที่ 1 และระยะที่ 2 สามารถรักษา ด้วยการ รั บ ป ร ะ ท า น ย า เ พื่ อ ล ด อ า ก า ร อั ก เ ส บ ป ว ด บ ว ม ร่วมกับ การแช่น้ำอุ่นวันละ 2-3 ครั้ง และหยุดพักการใช้งาน ของมือ ตลอดจน การนวดเบาๆ การใช้ความร้อนประคบ และออกกำลังกายเหยียดนิ้ว การรักษาในระยะที่ 3 คือ การ ฉี ด ย า ส เ ตี ย ร อ ย ด์ เ ฉ พ า ะ ที่ เ พื่ อ ล ด กา ร อั ก เ ส บ ป ว ด บ ว ม แต่มีข้อจำกัด คือ ไม่ควรฉีดยาเกิน 2 หรือ 3 ครั้ง ต่อ 1 นิ้วที่เป็น และ การรักษาในระยะที่ 4 จะรักษา โดยการ ผ่ า ตั ด คือ ตั ด ป ล อ ก หุ้ ม เ ส้ น เ อ็ น บ ริ เ ว ณ โ ค น นิ้ ว มื อ ที่ ห น า ใ ห้ เ ปิ ด ก ว้ า ง อ อ ก เพื่อให้เส้นเอ็น เคลื่อนผ่านได้สะดวก ไม่ติดขัด หรือสะดุดอีก
ทั้งนี้ ก า ร ป้ อ ง กั น โ ร ค นิ้ ว ล็ อ ก ส า ม า ร ถ ทำ ไ ด้ โ ด ย ไ ม่ หิ้ ว หรือ ย ก ข อ ง ห นั ก ถ้าจำเป็น ควร ใ ช้ ผ้ า ข น ห นู ผ้ า นุ่ ม ๆ ร อ ง แ ล ะ หิ้ ว ให้น้ำหนักตกที่ฝ่ามือ แทนที่ จะให้น้ำหนัก ตกที่ข้อมือ หรือวิธีการอุ้มประคอง ลดการรับน้ำหนัก ที่นิ้วมือ หรือ ใ ช้ เ ค รื่ อ ง ทุ่ น แ ร ง  เช่น  ร ถ เ ข็ น  ร ถ ล า ก  ก า ร ร ด น้ำ ต้ น ไ ม้ ค ว ร ใ ช้ สา ย ย า ง แทนการหิ้วถังน้ำ นอกจากนี้ ไ ม่ ค ว ร บิ ด ผ้ า ซั ก ผ้ า ด้ ว ย มื อ แ ล ะ ไ ม่ ค ว ร บิ ด ผ้ า ใ ห้ แ ห้ ง ส นิ ท เพราะจะยึดปลอกหุ้มเอ็น จนคราก และเป็นจุดเริ่มต้น ของโรคนิ้วล็อก ควรซักผ้า ด้วยเครื่องซักผ้า การใช้เครื่องมือต่างๆ เช่น เลื่อย ไขควง กรรไกร ค้อน ตะหลิว อุปกรณ์กีฬา เช่น เทนนิส แบดมินตัน ไม้กอล์ฟ ควรห่อหุ้มด้ามจับ เพื่อให้ด้ามจับ นุ่มขึ้น หรือ ใส่ถุงมือ ลดแรงเสียดสี ระหว่างมือ กับอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึง การทำงาน ที่ต้องเกร็งมือ ต่อเนื่อง เป็นเวลานาน ควรพักมือ เป็นระยะๆ



ขอขอบคุณ

ข้อมูล : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข


กระดูกสันหลังเสื่อม
คอเคล็ด
ปวดกล้ามเนื้อ
ชาปลายนิ้ว
กระดูกคอเสื่อม
หมอนรองกระดูกเสื่อม
ปวดกล้ามเนื้อเยื่อพังผืด
ข้อเสื่อม
กระดูกสันหลังเคลื่อน
ตะคริว

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้