รู้ก่อน!! วัยสูงอายุ กระดูกพรุน ทำให้คุณภาพชีวิตแย่ลงขนาดนี้

รู้ก่อน!! วัยสูงอายุ กระดูกพรุน ทำให้คุณภาพชีวิตแย่ลงขนาดนี้


โรคกระดูกพรุน คืออะไร?

รศ.นพ.กระเษียร ปัญญาคำเลิศ อาจารย์ประจำภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้บรรยายเรื่อง "ลดเสี่ยงกระดูกพรุน เพิ่มคุณภาพชีวิต" ไว้ว่า โรคกระดูกพรุน คือ ภ า ว ะ ค ว า ม  ผิ ด ป ก ติ ข อ ง ก ร ะ ดู ก  ที่ มี ค ว า ม ห น า แ น่ น ข อ ง ม ว ล ก ร ะ ดู ก ล ด ล ง  ส่งผลให้ กระดูก มีโอกาสแตกหัก ได้ง่าย นับได้ว่า เ ป็ น ภั ย ใ ก ล้ ตั ว ที่ไม่ควรมองข้าม ซึ่งร่างกายของคนเรา จ ะ มี ม ว ล ก ร ะ ดู ก สู ง ที่ สุ ด ใ น วั ย   3 0  ปี หลังจากนั้น ร่างกายจะค่อย ๆ สูญเสียมวลกระดูก เสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักได้ง่าย โดยเฉพาะเพศหญิง ที่ ห ลั ง ห ม ด ป ร ะ จำ เ ดื อ น   ม ว ล ก ร ะ ดู ก จ ะ ล ด ล ง อย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว 
ภาวะกระดูกหัก หรือ กระดูกสะโพกหัก ในผู้สูงอายุ เป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพ ที่พบบ่อยไม่น้อยไปกว่าเรื่องอื่นๆ โดยเฉพาะ ผู้ สู ง อ า ยุ ที่ มี ปั ญ ห า ก ร ะ ดู ก พ รุ น  ซึ่ ง มี ภ า ว ะ ข อ ง ก ร ะ ดู ก ที่ เ ป ร า ะ บ า ง ก ว่ า ป ก ติ จากสถิติผู้ป่วยที่เกิดภาวะกระดูกสะโพกหัก ร้อยละ 50 เคยมีกระดูกหักที่อื่นมาก่อนแล้ว และ ร้อยละ 80 เ กิ ด เ นื่ อ ง จ า ก ก ร ะ ดู ก พ รุ น ซึ่งกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ทำให้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย เ ห ลื อ ตั ว เ อ ง ไ ด้   แยกเป็นสถิติได้ ดังนี้
  • ร้อยละ 50 ของผู้ป่วย ต้ อ ง มี เ ค รื่ อ ง ช่ ว ย เ ดิ น
  • ร้อยละ 25 ของผู้ป่วยมีความพิการตลอดชีวิต และ อ า จ จ ะ ต้ อ ง น อ น ติ ด เ ตี ย ง 
  • ร้อยละ 22 ต้องได้รับ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ใ น การขับถ่าย
  • ร้อยละ 11 ผู้ดูแลต้องใ ห้ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ป่วยใน ก า ร อ า บ น้ำ 
  • ร้อยละ 5 ต้องได้รับการช่วยใน ก า ร รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร

นอกจากนี้ ต้องให้ความสำคัญ ใ น ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ก า ร ดู แ ล  ไ ม่ ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย ล้ ม คอยพยุง ให้ผู้ป่วยมีการทรงตัวที่ดี ตรวจสอบผลข้างเคียง ของยา ว่า ทำ ใ ห้ มึ น ง ง  ป ว ด ศ รี ษ ะ เ ดิ น เ ซ  หรือไม่ รวมถึงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม และที่อยู่อาศัยให้เหมาะสม เพื่อป้องกันการหกล้ม ห รื อ เ กิ ด อุ บั ติ เ ห ตุ ที่ จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ภ า ว ะ ก ร ะ ดู ก หั ก ซ้ำ ไ ด้


ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน

ปัจจัยที่มีผลต่อมวลกระดูกนั้น มีหลายอย่าง อาทิ อายุมาก พันธุกรรม ภาวะหมดประจำเดือน โ ร ค เ รื้ อ รั ง บ า ง อ ย่ า ง การใช้ยาบางอย่าง เป็นต้น โดยผลกระทบที่เกิดขึ้นผู้ป่วย มั ก ไ ม่ รู้ ว่ า ต น เ อ ง มี ภ า ว ะ ก ร ะ ดู ก พ รุ น เนื่องจาก ส่วนใหญ่ มักไม่มีอาการแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน อาการที่อาจเป็นสัญญาณกระดูกพรุน อาทิ ปวดหลัง ตัวเตี้ยลง หลังค่อม เป็นต้น

โรคกระดูกพรุน จำเป็น ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ก  า ร ดู แ ล  แ ล ะ รั ก ษ า  จ า ก แ พ ท ย์ ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ  อย่างใกล้ชิด การผ่าตัดหรือ ดามกระดูกที่หัก ไม่สามารถรักษาโรคกระดูกพรุน หรือ ลดความเสี่ยง ที่จะเกิดกระดูกหักที่ตำแหน่งอื่นๆ ได้

วิธีรักษาโรคกระดูกพรุน

แนวทางการรักษานั้นมี 2 วิธีคือ
  1. การรักษาโดยการใช้ยา ได้แก่ ย า ต้ า น ก า ร ส ล า ย ก ร ะ ดู ก และ ยากระตุ้นการสร้างกระดูก
  2. การบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ โดยเฉพาะ อ า ห า ร ที่ มี แ ค ล เ ซี ย ม สู ง เ ส ริ ม วิ ต า มิ น ดี  รักษาโรค ที่มีผลให้ สูญเสีย มวลกระดูกได้เร็วขึ้ น  ห ลี ก เ ลี่ ย ง พ ฤ ติ ก ร ร ม เสี่ ย ง ต่ อ ภ า ว ะ ก ระ ดู ก พ รุ น  เช่น กินเหล้า สูบบุหรี่ และ ควรออกกำลังการกายที่เหมาะสม อย่างสม่ำเสมอ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้