อย่าชะล่าใจ!! ข้อเท้าแพลง อาจถึงขั้นต้องผ่าตัด

อย่าชะล่าใจ!! ข้อเท้าแพลง อาจถึงขั้นต้องผ่าตัด


เกิดขึ้นได้บ่อยกับทุกเพศทุกวัยค่ะ สำหรับข้อเท้าแพลง ยิ่ ง โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผู้ ห ญิ ง ที่ มั ก ส ว ม  ร อ ง เ ท้ า ส้ น สู ง  นักกีฬาบาสเก็ตบอล เทนนิส ฟุตบอล การปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธีช่วยได้ระดับหนึ่ง แ ต่ ห า ก อ า ก า ร ไ ม่ ดี ขึ้ น ค ว ร  รี บ พ บ แ พ ท ย์

ข้อเท้าแพลง มีอาการอย่างไร?

นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า หลายคนคงเคยข้อเท้าพลิกในการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้เกิดความเจ็บปวด และ ข้อเท้าบวม อาการนี้เรียกว่า ข้อเท้าแพลง
ข้อเท้าแพลง เป็นการบาดเจ็บที่พบได้บ่อย ส า ม า ร ถ เ กิ ด ไ ด้ กั บ ทุ  ก เ พ ศ ทุ ก วั ย  สาเหตุเกิดจากการบิด หมุน หรือพลิก ของข้อเท้าอย่างรวดเร็ว จนเกินช่วงการเคลื่อนไหวที่ปกติ ทำให้เอ็นยึดข้อต่อถูกยืดออกมากจนเกินไป หรือฉีกขาด จึงเกิดการบาดเจ็บขึ้น มีอาการปวดและบวม ห า ก รุ น แ ร ง อ า จ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ อ็ น ข า ด  ทำ ใ ห้ ข้ อ เ ท้ า ห ล ว ม  แ ล ะ อ า จ เ กิ ด ก า ร บ า ด เ จ็ บ ก ร ะ ดู ก อ่ อ น ใ น ข้ อ ไ ด้ 
นายแพทย์สมพงษ์ ตันจริยภรณ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ กล่าวเพิ่มเติมว่า อ า ก า ร ข้ อ เ ท้ า แ พ ล ง แ บ่ ง ต า ม ค ว า ม รุ น แ ร ง ไ ด้  3 ระดับ คือ 
1. ข้อเท้าแพลงชนิดไม่รุนแรง มีอาการปวด บวม เล็กน้อย

2. ข้อเท้าแพลงชนิดปานกลาง มีการฉีกขาดของเอ็นบางส่วน ทำ ใ ห้ มี อ า ก า ร ป ว ด  บ ว ม  เฉพาะที่และอาจมีเลือดคั่ง

3. ข้อเท้าแพลงชนิดรุนแรง มี ก าร ฉี ก ข า ด ข อ ง เ อ็ น ข้ อ เ ท้ า ท า ง ด้ า น น อ ก ทั้ ง ห ม ด  ทำให้ข้อเท้าสูญเสียความมั่นคง เดินลงน้ำหนักไม่ได้ ปวด บวมมาก และมีเลือดคั่ง อาจต้องผ่าตัด


ปัจจัยเสี่ยงของอาการ ข้อเท้าแพลง

ปัจจัยเสี่ยงที่เพิ่มโอกาสให้เกิดข้อเท้าแพลง อาทิ
  • วิ่งหรือก้าวเดินบนพื้นผิวขรุขระ
  • การก้าวพลาด  ห รื อ ห ก ล้ ม
  • ออกกำลังกาย หรือ เล่นกีฬา ที่ ทำ ใ ห้เ กิ ด อุ บั ติ เ ห ตุ ก ร ะ ท บ ก ร ะ เ ทื อ น  จนข้อเท้าแพลง เช่น เทนนิส ฟุตบอล บาสเก็ตบอล
  • มีน้ำหนักตัวที่มากเกินไป
  • สวมรองเท้าที่ไม่เหมาะสมกับขนาดเท้า โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผู้ ห ญิ งที่ ส ว ม ร อ ง เ ท้ า ส้ น สู ง จะเพิ่มโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ข้อเท้าพลิก
  • ผู้ที่เคยประสบอุบัติเหตุ หรือ มี ก า ร บ า ด เ จ็ บ บ ริ เ ว ณ ข้ อ เ ท้ า ม า ก่ อ น

วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีอาการเท้าแพลง

การปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับข้อเท้าแพลง สามารถทำได้โดย
1. พักการใช้งานข้อเท้าที่ได้รับบาดเจ็บ ประมาณ 2 - 3 วัน หยุดกิจกรรมที่ทำอยู่
2. ป้องกัน ไ ม่ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร บ า ด เ จ็ บ เ พิ่ ม ขึ้ น  ในบริเวณที่บาดเจ็บอยู่ก่อนแล้ว
3. ลดการอักเสบ ด้วยการใช้น้ำแข็งห่อด้วยผ้าประคบบริเวณดังกล่าวประมาณ 15 ถึง 20 นาที 3-5 ครั้งต่อวัน
4. ใช้สนับข้อเท้า หรือพันผ้าบริเวณที่บวม เ พื่ อ ช่ ว ย ป้ อ ง กั น แ ล ะ จำ กั ด ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว  ร ว ม ถึ ง ล ด อ า ก า ร บ ว ม  โดยผ้าต้องมีความยืดหยุ่นที่เหมาะสม ไม่รัด ตึงจนเกินไป และ ควรปลดผ้าพันออกเมื่อจะเข้านอน
5. นอนยกข้อเท้า ใ ห้ อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ สู ง ก ว่ า ร ะ ดั บ หั ว ใ จ  หรือ อาจนำหมอนมาหนุนที่ข้อเท้า เพื่อช่วยลดอาการบวม
6. ที่สำคัญหลีกเลียงการประคบร้อน เ พ ร า ะ ค ว า ม ร้ อ น จ ะ ทำ ใ ห้ เ ลื อ ด ไ ห ล เ วี ย น ไ ป ยั ง บ ริ เ ว ณ ที่ ไ ด้ รั บ บ า ด เ จ็ บ ม า ก ขึ้ น
7. ห้ามนวด เพราะจะ ทำ ใ ห้ เ ลื อ ด ไ หล เ วี ย น ไ ป บ ริ เ ว ณ นั้ น ม า ก ขึ้ น  และเพิ่มอาการบวม
8. ห้ามวิ่ง หรือทำกิจกรรมใดๆ ที่ต้องออกแรงมาก เ พ ร า ะ จ ะ ยิ่ ง ทำ ใ ห้ อ า ก า ร บ า ด เ จ็ บ เ พิ่ ม ขึ้ น
9. ห้ามดื่มแอลกอฮอล์โดยเด็ดขาด เนื่องจาก แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ จ ะ ทำ ใ ห้ เ ลื อ ดไ ห ล เ วี ย น ม า ก ขึ้ น  และเพิ่มอาการบวม
10. หากปฏิบัติตามขั้นตอนดังกล่าวข้างต้นแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อตรวจดูว่ามี อ า ก า ร รุ นแ ร ง ที่ อ า จ เ กิ ด กั บ ก ร ะ ดู ก หรือ เ นื้ อ เ ยื่ อ ส่ ว น อื่ น ไ ด้

วิธีป้องกันอาการข้อเท้าแพลง

สำหรับการป้องกัน สามารถทำได้โดย
1. สวมรองเท้าให้เหมาะสม

2. หลีกเลี่ยงรองเท้าส้นสูง

3. หลีกเลียงการเดิน วิ่ง หรือ กระโดด บนพื้นที่ไม่เหมาะสม

4. หากเล่นกีฬา ค ว ร ส ว ม ร อ ง เ ท้ า ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ตามชนิดของกีฬา

5. ออกกำลังกายข้อเท้าเป็นประจำ 3 – 4 วันต่อสัปดาห์

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้