ระวัง!! ใช้งานข้อมือหนัก เสี่ยงเป็นโรคกดทับเส้นประสาทข้อมือ

ระวัง!! ใช้งานข้อมือหนัก เสี่ยงเป็นโรคกดทับเส้นประสาทข้อมือ


งานหนักงานเบา หากคุณต้องใช้ข้อมืออย่างหนัก หรือทำซ้ำๆ เป็นเวลานาน มี โ อ ก า ส ที่ จ ะ ป่ ว ย เ ป็  น  โรคกดทับเส้นประสาทข้อมือ ซึ่ ง เ ป็ น อ า ก า ร เ จ็ บ ป ว ด ที่ ท ร ม า น อ ย่ า ง น่ า รำ ค า ญ  เลยทีเดียว

โรคกดทับเส้นประสาทข้อมือ คืออะไร?

โรคกดทับเส้นประสาทข้อมือ เกิดจาก พั ง ผื ด ที่ ห นา ตั ว บ ริ เ ว ณ ข้ อ มื อ ท า ง ด้ า น ฝ่ า มื อ   แ ล้ ว ก ด ทั บ เ ส้ น ป ร ะ ส  า ท  ทำให้เกิดการอักเสบ เมื่อใช้งานบริเวณข้อมืออย่างต่อเนื่อง และเป็นเวลานาน

สัญญาณของโรคกดทับเส้นประสาทข้อมือ

นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ เปิดเผยว่า อาการชา แบบเป็นเหน็บ ปวดแสบปวดร้อน บริเวณฝ่ามือ กับนิ้วมือ โดยเฉพาะนิ้วโป้งกับนิ้วชี้ โ ด ย อ า จ รู้ สึ ก เ ห มื อ น ถู ก ไ ฟ ช็ อ  ตที่  นิ้ ว โ ป้ ง  นิ้ ว ชี้  นิ้ ว ก ล า ง  แ ล ะ นิ้ ว น า ง  เ ป็ น บ า ง ค รั้ ง  มักมีอาการตอนกลางคืน หรือหลังตื่นนอน เมื่อได้ขยับ หรือสะบัดมือจะรู้สึกดีขึ้น โ ด ย อ า ก า  ร จะ ชั ด เ จ น ม า ก ขึ้ น  หลังจากทำงานที่ต้องเคลื่อนไหวข้อมือ หรือใช้ข้อมือหยิบจับถือสิ่งของเป็นเวลานาน หรือ มีอาการอ่อนแรงของมือ และนิ้วมือ

วัยเสี่ยงโรคกดทับเส้นประสาทข้อมือ

โรคนี้มักพบในเพศหญิง มากกว่าเพศชาย ในช่วงอายุ 35-40 ปี เพราะ เป็นวัยทำงาน มี ก า ร ใ ช้ ข้ อ มื อ แ ล ะ มื อ ซ้ำ ๆ กั น เ ป็ น เ ว ล า น า น  เช่น คนที่พิมพ์งานคอมพิวเตอร์ เพราะ ต้องวางข้อมือ ลงกับโต๊ะ ที่เป็นของแข็ง คนที่เขียนหนังสือ งานเย็บปักถักร้อย หรือใช้เครื่องมือที่สั่นสะเทือนต่อข้อมือบ่อยๆ เช่น ช่างเจาะถนน การทำงานที่กระดกข้อมือซ้ำๆ กัน เช่น แม่บ้าน คนซักผ้า แม่ค้า น อ ก จ า ก นี้ ยั ง พ บ ว่ า โ ร ค ดั ง ก ล่ า ว  ส า ม า ร ถ เ กิ ด ร่ ว ม กั บ ภ า ว ะ ต่ า ง ๆ  เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สตรีมีครรภ์ โรคไทรอยด์ โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ รวมถึง ผู้ป่วยกระดูกหัก หรือกระดูกเคลื่อนบริเวณข้อมือ

รักษาโรคกดทับเส้นประสาทข้อมืออย่างไร?

การรักษาโรคกดทับเส้นประสาทข้อมือ ทำได้ 2 วิธี คือ
  1. รักษาโดยไม่ผ่าตัด ใ ช้ เ ฝื อ ก อ่ อ น ด า ม ข้ อ มื อ  ทานยาแก้ปวดแก้อักเสบ ฉี ด ย า ส เ ตี ย ร อ ย ด์  แ ล ะ ป รั บ เ ป ลี่ ย น พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ ใ ช้ ข้ อ มื อ  เพื่อลดการอักเสบของข้อมือ
  2. รักษาด้วยการผ่าตัด จะทำเมื่อ ก า ร รั ก ษ า ด้ ว ย ย า แ ล ะ ป รั บ เ ป ลี่ ย น พ ฤ ติ ก ร ร ม ไ ม่ ไ ด้ ผ ล  หรือผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง กล้ามเนื้อฝ่อ

ป้องกันโรคกดทับเส้นประสาทข้อมือได้อย่างไร?

การป้องกันสามารถทำได้โดย ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น พ ฤ ติ ก ร ร ม ใ น ชี วิ ต ป ร  ะ จำ วั น  ก า ร ใ ช้  ง า น มื  อ แ ล ะ ข้ อ มื อ ด้ ว ย ค ว า  ม ร ะ มั ด ร ะ วั ง   เช่น ใช้ปากกาที่จับเขียนได้สะดวก คนที่พิมพ์งานคอมพิวเตอร์ควรกดแป้นพิมพ์เบาๆ พร้อมทั้งแผ่นเจล ผ้านุ่มๆ หรือฟองน้ำสำหรับรองข้อมือขณะพิมพ์งาน เพื่อลดการเสียดสี และ ลดการกระตุ้นเส้นเอ็น ไม่ให้ตึงตัว พักมือเป็นระยะ โดยยืด ดัด และหมุนมือกับข้อมือ ค ว ร ป รั บ ท่  า ท า ง ข อ ง ร่ า ง ก า ย โ ด  ย ไ ม่ ห่ อ ไ ห ล่ ไ ป ข้ าง ห  น้ า  หลีกเลี่ยงการนอนทับมือ หากสวมเฝือกข้อมือ ควรสวมเฝือกที่ไม่คับจนเกินไป ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ต ล อ ด จ น รั ก ษ า ค ว า ม อ บ อุ่ น ข อ ง มื อ  ใ น ส ภ า พ อ า  ก า ศ ห น า ว เ ย็ น  เพื่อลดอาการปวดตึง


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้