อ่านกันยาวๆ ยาเขียว เด็กใช้ได้ผู้ใหญ่ใช้ดี

อ่านกันยาวๆ ยาเขียว เด็กใช้ได้ผู้ใหญ่ใช้ดี


รองศาสตราจารย์ รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล
ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 
ตำรับยาไทยขนานแท้ ยาเขียว ตามองค์ความรู้ของแพทย์แผนไทย หรือ หมอพื้นบ้าน ใ ช้ กั น ม า ย า ว น า น ห ล า ย ท ศ ว ร ร ษ แ ล ะ ต ร า บ จ น ปั จ จุ บั น  ยังคงเป็นตำรับ ที่มีการผลิตขายทั่วไป ในสมัยก่อน ประชาชนทั่วไป จะรู้จักวิธีการใช้ยาเขียวเป็นอย่างดี กล่าวคือ มั ก ใ ช้ ย า เ ขี ย ว ใ น เ ด็ ก ที่ เ ป็ น ไ ข้ อ อ ก ผื่ น  เช่น  อีสุกอีใส หัด เพื่อกระทุ้งให้พิษไข้ออกมา เป็นผื่นเพิ่มขึ้น เพื่อให้หายได้เร็ว
ตำรับยาเขียว มีส่วนประกอบของพืช องค์ประกอบหลัก เป็นการใช้ส่วนของใบ ใบนี้เองที่ทำให้ยามีสีค่อนข้างไปทางสีเขียว จึงทำให้เรียกกันว่า ยาเขียว และใบไม้ที่ใช้นี้ ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ส ร ร พ คุ ณ เ ป็ น ยาเย็น หอมเย็น หรือ บางชนิดมีรสขม เ มื่ อ ป ร ะ ก อ บ เ ป็ น ตำ รั บ แ ล้ ว จั ด เ ป็ น ย า เ ย็ น  ทำให้ตำรับยาเขียวส่วนใหญ่ มี ส ร ร พ คุ ณ ดั บ ค ว า ม ร้ อ น ข อ ง เ ลื อ ด ที่ เ ป็ น พิ ษ ( พิษในที่นี้ ต่างจากความเข้าใจในปัจจุบัน คือ ไม่ใช่สารพิษ แ ต่ น่ า จ ะ ห ม า ย ถึ ง ข อ ง เ สี ย ที่ เ กิ ดขึ้ น ใน  เ ลื อ ด ม า ก ก ว่ า ป ก ติ  และ ร่างกายกำจัดออกไม่หมด อาจจะตรงกับความหมายของ toxin หรือ oxidative stress ที่เกิดขึ้นในภาวะโรค หรือ จากการติดเชื้อบางชนิด) ซึ่ง ตามความหมาย ของ การแพทย์แผนไทย นั้น หมายถึง ก า ร ที่ เ ลื อ ด มี พิ ษ  และ  ค ว า ม ร้ อ น สู ง ม  า ก  จนต้องระบายออกทางผิวหนัง เป็นผลให้ ผิวหนังเป็นตุ่ม หรือ ผื่น เช่น ที่พบในไข้ออกผื่น หัด อีสุกอีใส เป็นต้น
ตำรับยาเขียวที่พบในคัมภีร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ มีบันทึกไว้ 3 ตำรับ ได้แก่ ยาเขียวมหาพรหม ยาเขียวน้อย ยาเขียวประทานพิษ และ ตำรับยาเขียวหอม ที่ได้รับการบรรจุ ในบัญชียาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2556 พบว่า ใบไม้ที่ใช้ในยาเขียว มีมากมายหลายชนิด ได้แก่ ใบผักกระโฉม ใบพิมเสน ใบหมากผู้ ใบพรมมิ ใบหมากเมีย ใบบอระเพ็ด ใบสันพร้าหอม ใบมะระ ใบชิงช้าชาลี ใบน้ำเต้า ใบสะเดา ใบกะเม็ง ใบหนาด ใบทองหลางใบมน ใบแคแดง ใบนมพิจิตร ใบมะเฟือง ใบพริกไทย ใบแทงทวย ใบปีบ ใบน้ำเต้าขม ใบเท้ายายม่อม ใบย่านาง ใบระงับ ใบหญ้าน้ำดับไฟ ใบฟักข้าว ใบตำลึงตัวผู้ ใบระงับพิษ ใบถั่วแระ ใบอังกาบ ใบเสนียด ใบดีปลี ใบสะค้าน ใบสมี ใบมะตูม ใบสหัศคุณ ใบลำพัน ใบผักเสี้ยนทั้ง ๒  ใบกระวาน ใบผักกาด ใบเถาวัลย์เปรียง ใบมะนาว ใบคนทีสอ ใบมะยม ใบมะคำไก่ ใบสลอด ใบมะเฟือง ใบสมี ใบขี้หนอน ใบผักเค็ด ใบขี้เหล็ก ใบพุมเรียงทั้ง ๒
ยาเขียวหอม ที่ บ ร ร จุ อ ยู่ ใน บั ญ ชี ย า ส  า มั ญ ป ร ะ  จำ บ้ า น แ ผ  น โ บ ร า ณ  พ.ศ.๒๕๕๖ ประกอบด้วย ใบผักกระโฉม ใบพิมเสน ใบหมากผู้ ใบหมากเมีย ซึ่งมีรสเย็น แก้ไข้ ตัวยาเย็นอื่นๆ ที่ มิ ใ ช่ ส่ ว น ข อ ง ใ บ  ได้แก่ มหาสดำ รากแฝกหอม ดอกพิกุล เกสรบัวหลวง สารภี เนระพูสี ว่านกีบแรด ตัวยาแก้ไข้ ที่มี รสขม ได้แก่ จันทน์แดง พิษนาศน์ เนื่องจาก ยาไทยเป็นยารักษาโดยองค์รวม ดังนั้น จึงพบตัวยาสรรพคุณอื่นๆ ได้แก่ ตัวยารสสุขุม เ พื่ อ ค ว บ คุ  ม ร่ า ง ก า ย มิ ใ ห้ เ ย็ น จ น เ กิ น ไ ป  ได้แก่ บุนนาค ใบสันพร้าหอม พร้อมกับ ตัวยา ช่วยปรับการทำงาน ของธาตุลมได้แก่ เปราะหอม ว่านร่อนทอง จันทน์เทศ อย่างไรก็ดี ใ น สู ต ร ตำ รั บ ย า เ ขี ย ว ห อ ม ที่ บ ร ร จุ ใ น ป ร ะ ก า ศ บั ญ ชี ย า ส า มั ญ ป ร ะ จำ บ้ า น ฉ บั บ ล่ า สุ ด  ได้ตัด ไคร้เครือ ออกจากตำรับ เนื่องจาก มี ข้ อ มู ล ง า น วิ จั ย บ่ ง ชี้ ว่ า  ไคร้เครือ ที่ใช้ และจำหน่าย ในท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพืชในสกุลนี้ มีรายงาน พบสาร aristolochic acid ก่อให้เกิด ความเป็นพิษ ต่อไต (nephrotoxicity) และ องค์การอนามัยโลก ได้ประกาศให้ พืชสกุล Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็ง ในมนุษย์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002
การใช้ยาเขียวหอม บรรเทาอาการไข้ ร้อนใน กระหายน้ำ ควรใช้ น้ำกระสายยา เ พื่ อ ช่ ว ย ล ะ ล า ย ตั ว ย า ทำ ใ ห้ ย า อ อ ก ฤ ท ธิ์ เ ร็ ว ขึ้ น  เช่น น้ำสุก หรือ น้ำดอกมะลิ เป็นน้ำกระสาย เพื่อให้ยาออกฤทธิ์แรงขึ้น  ด้วยเหตุว่า น้ำดอกมะลิ มีรสหอมเย็น ช่วยเสริมฤทธิ์ของยาตำรับ
ยาเขียว ยังใช้เป็น ยาแก้ไข้ออกผื่น เช่น อีสุกอีใส หัด ซึ่ ง มี ส า เ ห ตุ ม า จ า ก ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ไ ว รั ส  ทั้งวิธีกินและทา โดยละลายยาด้วยน้ำรากผักชีต้ม ในปี 2548 มี ก า ร ศึ ก ษ า ฤ ท ธิ์ ขอ ง ย า เ ขี ย ว ที่ มี ใ น ท้ อ ง ต ล า ด 3 ช นิ ด  ในการยับยั้งเชื้อไวรัส varicella zoster ที่เป็นสาเหตุของ โรคอีสุกอีใส และ งูสวัด ซึ่งผลปรากฏว่า ยาเขียวทั้ง 3 ชนิด ไม่แสดงฤทธิ์ดังกล่าว อันที่จริง การใช้ยาเขียวในโรคไข้ออกผื่นในแผนไทย ไ ม่ ไ ด้ มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร ยั บ ยั้ ง เ ชื้ อ ไ ว รั ส  แ ต่ ต้ อ ง ก า ร ก ร ะ ทุ้ ง พิ ษ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ให้ออกมามากที่สุด ผู้ป่วยจะหายได้เร็วขึ้น ผื่นไม่หลบใน หมายถึง ไม่เกิดผื่นภายใน ดังนั้น จึงมีหลายคน ที่กินยาเขียวแล้ว จะรู้สึกว่า มีผื่นขึ้นมากขึ้น จากเดิม แพทย์แผนไทย จึ ง แ น ะ นำ ใ ห้  ใ ช้ ทั้ ง วิ ธี กิ น  แ ล ะ ช โ ล ม  โดยการกินจะช่วยกระทุ้งพิษภายใน ให้ออกมาที่ผิวหนัง และการชโลม จะช่วยลดความร้อน ที่ผิวหนัง ถ้ า จ ะ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ห ลั ก ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ปั จ จุ บั น  น่าจะเป็นไปได้ที่ ยาเขียวอาจออกฤทธิ์ โดยลดการอักเสบ หรือ เพิ่มภูมิคุ้มกัน หรือ ต้านออกซิเดชัน แ ต่ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ดี  ยังไม่มีงานวิจัยใดๆ สนับสนุน อีกทั้ง ยังไม่มีการเก็บข้อมูล การใช้ยาเขียวในผู้ป่วย ไข้ออกผื่น หรือ อาการไข้ธรรมดา  แ ต่ ก า ร ที่ มี ก า ร ใ ช้ ตั้ ง แ ต่ โ บ ร า ณ น่ า จ ะ เ ป็ น คำ ต อ บ ไ ด้ ร ะ ดั บ ห นึ่ ง ว่ า  การใช้ยาเขียว น่าจะบรรเทาอาการไข้ออกผื่นได้ ไม่มากก็น้อย แม้จะมีความรู้ที่ว่า ไข้ออกผื่นที่เกิดจากไวรัส สามารถหายได้เอง ความทรมาณที่เกิดขึ้น ในช่วงระยะเวลาที่เป็น ซึ่งอาจบรรเทาได้ ด้วยยาเขียว ก็ เ ป็ น ที่ น่ า ส น ใ จ ศึ ก ษ า พิ สู จ น์ ฤ ท ธิ์ ต่ อ ไ ป  อนึ่ง ยาเขียวหอมเป็นตำรับที่บรรจุอยู่ใน บัญชียาสามัญประจำบ้าน และ บัญชียาสมุนไพร ที่เป็นบัญชียาหลักแห่งชาติ น่ า จ ะ เ ป็ น คำ ต อ บ ไ ด้ ว่ า ย า เ ขี ย ว เ ป็ น ย า ที่ มี ก า ร ใ ช้ กั น ม า อ ย่ า ง ย า ว น า น เ ป็ น ที่ ย อ ม รั บ  แม้ยังมีการวิจัยไม่มาก การใช้สืบต่อกันมา ตั้งแต่บรรพบุรุษของเรา ซึ่งอาจจะยาวนาน กว่าสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ก็ น่ า จ ะ ไ ว้ ว า ง ใ จ ใ น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ไ ด้ ร ะ ดั บ ห นึ่ ง  และหากเรานำมาใช้อย่างผสมผสาน กับ การแพทย์แผนปัจจุบัน โดยพิจารณาจากคนไข้ จะทำให้เกิดผลดีต่อสุขภาพมากกว่า ก า ร ห วั ง พึ่ ง ก า ร แ พ ท ย์   เ พี ย ง แ ผ น ใ ด แ ผ น ห นึ่ ง  เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว
เนื่องจาก ตำรับยา มีองค์ประกอบเป็น ดอกไม้ 4 ชนิด ได้แก่ บุนนาค พิกุล เกสรบัวหลวง สารภี ซึ่งมีละอองเรณูผสมอยู่ ดังนั้น จึ ง ห ลี ก เ ลี่ ย ง ใ น ผู้ ที่ มี ป ร ะ วั ติ ก า ร แ พ้ ล ะ อ อ ง เ ก ส ร ด อ ก ไ ม้
นอกจากนี้ ยังไม่เคยมีรายงานความปลอดภัย ในกลุ่มคนไข้เลือดออก อีกทั้ง สมุนไพรส่วนหนึ่ง มักมีรายงาน การยับยั้งการจับตัวของเกล็ดเลือด หรือ ละลายลิ่มเลือด เช่น พรมมิ  เ พื่ อ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย จึ ง ไ ม่ ค ว ร ใ ช้ ใ น ผู้ ที่ ส ง สั ย ว่ า เ ป็ น ไข้เลือดออก  เนื่องจาก อาจบดบังอาการ
สรุปได้ว่า ยาเขียวเป็นยาที่ใช้กันมานาน และ เ ป็ น ม ร ด ก ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย ที่ ค ว ร สื บ ท อ ด พร้อมกับศึกษาทางคลินิก หรือ การรวบรวมข้อมูลการใช้ อย่างต่อเนื่อง เพื่อการใช้ประโยชน์ อย่างเต็มที่ ต่อไป

ยาเขียวหอม

ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย ใบผักกระโฉม ใบพิมเสน ใบสันพร้าหอม ใบหมากผู้หมากเมีย หัวเปราะหอม รากแฝกหอม แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์เทศ หรือ แก่นจันทน์ชะมด ว่านร่อนทอง ว่านกีบแรด พิษนาศน์ เนระพูสี มหาสดำ ดอกบุนนาค ดอกพิกุล เกสรบัวหลวง ดอกสารภี หนักสิ่งละ 5 กรัม

ข้อบ่งใช้
1.บรรเทาอาการไข้ ร้อนใน กระหายน้ำ
2.แก้พิษหัด พิษอีสุกอีใส (บรรเทาอาการไข้จากหัด และ อีสุกอีใส)

ขนาดและวิธีใช้  ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ำกระสายยา ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ  เด็ก อายุ 6 – 12 ปี ครั้งละ 500 มิลลิกรัม ละลายน้ำกระสายยา ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ

น้ำกระสายยาที่ใช้
- กรณี บรรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน้ำ ใช้น้ำสุก หรือ น้ำดอกมะลิ เป็นน้ำกระสายยา
- กรณี แก้พิษหัด พิษอีสุกอีใส ละลายน้ำรากผักชีต้ม เป็นน้ำกระสายยาทั้งรับประทาน และชโลม 
หมายเหตุ การชโลม ใช้ยาผงละลายน้ำ 1 ต่อ 3 แล้วชโลม (ประพรม) ให้ทั่วตามตัว บริเวณที่ตุ่มใส ยังไม่แตก

ชนิดเม็ด
ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม ทุก 4 – 6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ

ข้อควรระวัง
- ควรระวังการใช้ยา ในผู้ป่วย ที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
- ไม่แนะนำให้ใช้ใน ผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจาก อาจบดบังอาการของไข้เลือดออก
- หากใช้ยาเป็นเวลานาน เกิน ๓ วัน แล้วอาการยังไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ 
ข้อมูลเพิ่มเติม ทางการแพทย์แผนไทย แนะนำให้ผู้ป่วยหัด อีสุกอีใส ห้ามรับประทานไข่ อาหารทะเล  และน้ำเย็น เนื่องจากผิดสำแดง

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้