มาใหม่ร้ายกว่าออฟฟิศซินโดรม!! MPS ปวดเกร็งกล้ามเนื้อเยื่อพังผืด

มาใหม่ร้ายกว่าออฟฟิศซินโดรม!! MPS ปวดเกร็งกล้ามเนื้อเยื่อพังผืด


ตามทีได้นำเสนอไว้หลายบทความ ผู้อ่านคงจะรู้จักอาการออฟฟิศซินโดรม ซึ่งเป็นโรคของคนทำงานออฟฟิศกันแล้ว ที่มักจะมีอาการปวดเฉพาะจุด ตาม คอ บ่า ไหล่ แต่อยากบอกว่า อาการเหล่านี้ เป็นเพียงกลุ่มย่อย ของ MPS (Myofascial Pain Syndrome) หรือ อาการปวดเกร็งกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด อาการ MPS จะคล้ายกับออฟฟิศซินโดรม แต่จะปวดแบบกว้างกว่า รุนแรงกว่า เป็นภัยร้ายที่น่ากลัวกว่า ออฟฟิศซินโดรม

MPS (Myofascial Pain Syndrome) คืออะไร?

คุณเพ็ญพิชชากร แสนคำ นักกายภาพบำบัด จ า ก ค ลิ นิ ก ก า ย ภ า พ บำ บั ด อ ริ ย ะ  ชั้น 1 ไ ล ฟ์ เ ซ็ น เ ต อ ร์ (อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี) ได้ ให้ข้อมูล ว่า MPS (Myofascial Pain Syndrome) หรือ อาการปวดเกร็งกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด เป็นกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อ ที่วงการแพทย์ทั่วโลก ได้ให้ความสำคัญ เป็นอย่างมาก เนื่องจาก MPS นี้ เ ป็ น ก ลุ่ ม อ า ก า ร ป ว ด ซึ่ ง จ ะ นำ ไ ป สู่ อ า ก า ร แ ล ะ โ ร ค ที่ ร้ า ย แ ร ง ต่ อ ผู้ ที่ เ ป็ น ไ ด้
ในปัจจุบันพบว่ากว่าร้อยละ 20 ของผู้มีอาการ MPS ที่เป็นเรื้อรัง (มีอาการนานมากกว่า 3 เดือน) จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ ป็ น  โรค Fibromyalgia /FMS หรือ อาการปวดเกร็งกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด กระจายตัว ทั้งร่างกาย ได้ ซึ่ง ความน่ากลัว ของกลุ่มอาการนี้ คือ จ ะ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง ถ า ว ร ข อ ง ส า ร เ ค มี ใ น ส ม อ ง บ า ง ตั ว (Brain Chemical Adaptation) ทำให้ ผู้มีอาการ FMS ไวต่อการรับรู้ ความรู้สึก เจ็บปวด และที่สำคัญ พบว่า มากกว่า 50% ของผู้ที่เป็นเรื้อรัง ไม่เพียงส่งผลต่อระบบกล้ามเนื้อและกระดูกเท่านั้น แต่ยังส่งผล ต่อภาวะทางจิตใจ และมีอาการต่างๆ เช่น เพลียไม่ทราบสาเหตุ นอนไม่หลับ ชาตามร่างกาย เหนื่อยล้า เครียด วิตกกังวล และนำมาซึ่งโรคซึมเศร้าในที่สุด

สาเหตุที่ทำให้เกิด MPS

ปัจจัยที่ทำให้เกิด MPS เ พ ร า ะ มี ก า ร ทำ ง า น ข อ ง ก ล้ า ม เ นื้ อ อ ย่ า ง ห นั ก  คือ
  • ทำต่อเนื่องอยู่ในท่าเดิมๆ ซ้ำๆ เ ป็ น เ ว ล า น า น  ไ ม่ ห ยุ ด พั ก หรือ เปลี่ยนอิริยาบถ 
  • อยู่ในท่าทางที่ ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม
  • จัดสภาพแวดล้อมของ ที่ทำงาน หรือ โต๊ะทำงาน ไ ม่ เ ห ม า ะ ส ม  
  • ไม่ทราบวิธีเบื้องต้น ใ น ก า ร ผ่ อ น ค ล า ย ก ล้ า ม เ นื้ อ มั ด ที่ ต้ อ ง ทำ ง า น ห นั ก  
  • ออกกำลังกาย เพื่อแก้อาการ ที่ผิดวิธี ฯลฯ

ส่วนใหญ่ ผู้มีอาการปวดกล้ามเนื้อ MPS  มักไม่ทราบ ว่าตนเป็นอาการนี้ และถูกวินิจฉัยเบื้องต้น ด้วยกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อ ที่คล้ายกัน เช่น ออฟฟิศซินโดรม ปวดศีรษะจากความตึงของกล้ามเนื้อ ไมเกรน กล้ามเนื้ออักเสบ หรือ อักเสบเรื้อรัง ซึ่งอาการดังกล่าว เป็นเพียง ส่วนย่อย ของ MPS

อาการของ MPS

ลองสังเกตดูว่าคุณมีอาการของ MPS หรือไม่
  • กล้ามเนื้อ แ ข็ ง เ ป็ น ลำ
  • ป ว ด ม า ก เมื่อต้องอยู่ ในท่าเดิม ๆ
  • จุดที่กดแล้วเจ็บ มั ก ป ว ด ร้ า ว ไปบริเวณอื่นๆ
  • วิงเวียน หนักศีรษะ
  • ชา หรือ มีอ่อนแรง ร่วมด้วย
  • ตาพร่า คัดจมูก เ ห มื อ น น้ำ ต า เ อ่ อ
  • เครียด นอนไม่หลับ

หากว่ามีอาการเหล่านี้ ควรรีบแก้ไข เพราะในทางกายภาพบำบัด สามารถตรวจวินิจฉัย แยกกลุ่มอาการปวดต่างๆ ได้  ซึ่งหากเราทราบแน่ชัด ว่ า อ า ก า ร ที่ เ ป็ น นั้ น  รุ น แ ร ง จั ด อ ยู่ ใ น ขั้ น ข อ ง ก ลุ่ ม อ า ก า ร ป ว ด ก ล้ า ม เ นื้ อ แ บ บ ใ ด  เราก็สามารถ ทราบวิธีการ ในการจัดการดูแล ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู อาการนั้นๆ ได้ ก่อนที่ อาการจะรุนแรง เพิ่มขึ้น

ลิงค์น่าสนใจ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

คชาบาล์ม ยานวดแก้ปวดสำหรับนักวิ่ง

ดื่มน้ำเซเลอรี่หรือขึ้นฉ่ายฝรั่งดีอย่างนี้